โดย ครูปรีณาพรรณ พิมพ์พิศาล
เมื่อขยับออกจากเส้นบัพ N0 ทางด้านซ้ายมือและขวามือ แนวเส้นแรกจะเกิดจากจุดที่มีความ
หากสังเกตความต่างระยะทางของแหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกันข้ามจะพบว่าใช้ระบุ
เส้นปฏิบัพหรือเส้นบัพสลับกันกับกรณีแหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกัน ดังนั้นความสัมพันธ์
สำหรับเส้นปฏิบัพและเส้นบัพของแหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกันข้ามจึงสามารถนำสมการ
(5.3-1) และ (5.3-2) มาปรับใช้ได้ดังนี้
โดยที่ n เป็นตัวเลขแสดงลำดับที่ของแนวปฏิบัพ เริ่มที่ 1, 2, 3, ...
โดยที่ n เป็นตัวเลขแสดงลำดับที่ของแนวปฏิบัพ เริ่มที่ 0, 1, 2, 3, ...
สำหรับจุดอื่น ๆ บนระนาบของการแทรกสอด นอกเหนือจากจุดบนเส้นปฏิบัพและเส้นบัพ
ที่ได้กล่าวมาแล้ว จะเกิดการแทรกสอดเช่นเดียวกัน แต่ไม่ใช่กรณีเด่นชัดเหมือนจุดบนเส้น
ปฏิบัพและเส้นบัพ คือ อาจเกิดการแทรกสอดเสริมบางส่วนที่ไม่ใช่สันคลื่นเจอสันคลื่น หรือ
ไม่ใช่ท้องคลื่นเจอท้องคลื่น และอาจเกิดการแทรกสอดหักล้างบางส่วนที่ยังคงมีคลื่นลัพธ์
ปรากฏให้เห็น
จากคำอธิบายที่ผ่านมาทั้งหมดค่อนข้างยาว แต่จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
เส้นปฏิบัพและเส้นบัพกับความต่างระยะทางในสมการ (5.3-1) ถึง (5.3-3) ได้อย่างชัดเจน และเมื่อ
มีความเข้าใจแล้วนักเรียนจะไม่ต้องท่องสมการ โดยจะเปลี่ยนเป็นขั้นตอนการวิเคราะห์แทน
ทำให้เกิดการแทรกสอดเสริมเป็นเส้นปฏิบัพ แนวเส้นนี้จะกำกับไว้ด้วย
อักษร A และใช้ตัวห้อยเป็นเลข 1 นั่นคือ เส้นปฏิบัพที่ A1 สาเหตุเนื่องจากเป็นเส้นปฏิบัพเส้น
แรกซึ่งยังคงสอดคล้องกับจำนวนเต็มที่อยู่ถัดจากเลข 0.5 ของความต่างระยะทาง
จะเป็นแนวเส้นของจุดที่มีความต่างระยะทางเท่ากับ
หักล้างเป็นครั้งแรกทางด้านซ้ายมือและขวามือ จึงเรียกแนวเส้นนี้ว่า เส้นบัพ N1 ส่วนแนวเส้นอื่นๆ
ก็พิจารณาได้ในทำนองเดียวกันกับที่ผ่านมา
นอกจากนั้นแล้วโดยทั่วไปนิยมใช้แหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกัน ดังนั้นหากไม่ได้
กำหนดชนิดของแหล่งกำเนิดอาพันธ์ จะหมายถึง แหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกัน
จุดบนแนวเส้นนี้จะเกิดการแทรกสอดแบบ