โดย ครูปรีณาพรรณ  พิมพ์พิศาล
การแทรกสอด 10/23

รูปที่ 5.3-11 ลวดลายการแทรกสอดที่มีจุด Q อยู่บนแนวบัพ (ที่มา: ปรีณาพรรณ พิมพ์พิศาล)

พิจารณาที่ตำแหน่ง Q1

จะได้ระยะทางแตกต่างคือ

แสดงว่า Q1 เป็นตำแหน่งที่คลื่นหักล้างกัน บนเส้นบัพ (N1)

พิจารณาที่ตำแหน่ง Q2

จะได้ระยะทางแตกต่างคือ

แสดงว่า Q2 เป็นตำแหน่งที่คลื่นหักล้างกัน บนเส้นบัพที่ 2  (N2)

พิจารณาที่ตำแหน่ง Q3

จะได้ระยะทางแตกต่างคือ

แสดงว่า Q3 เป็นตำแหน่งที่คลื่นหักล้างกัน บนเส้นบัพที่ 3  (N3)

    เช่นเดียวกัน เมื่อให้จุด Q อยู่บนแนวเส้นบัพ ดังรูป 5.3-11 จะได้ความต่างระยะทาง ดังนี้

สรุปได้ว่า ความต่างของระยะทางบนแนวบัพ

โดยที่ n เป็นตัวเลขแสดงลำดับที่ของแนวบัพ เริ่มที่ 1, 2, 3, ...

(5.3-2)
12/10/2557