โดย ครูปรีณาพรรณ พิมพ์พิศาล
นักเรียนทราบแล้วว่าระยะจากสันคลื่นถึงสันคลื่นถัดกัน หรือ ท้องคลื่นถึงท้องคลื่นที่ถัดกัน
รูปที่ 5.3-10 ลวดลายการแทรกสอดที่มีจุด P อยู่บนแนวปฏิบัพ (ที่มา: ปรีณาพรรณ พิมพ์พิศาล)
จากสันคลื่นถึงท้องคลื่นที่ติดกันจะมีค่าเท่ากับ
แสดงว่า P1 เป็นตำแหน่งที่คลื่นเสริมกัน บนเส้นปฏิบัพกลาง (A0)
ต่อไปนี้ตำแหน่งที่อยู่บนแนวปฏิบัพจะแทนด้วยสัญลักษณ์ P และตำแหน่งที่อยู่บนแนวบัพ
จะแทนด้วยสัญลักษณ์ Q เพื่อแสดงความแตกต่างนักเรียนจะได้ไม่สับสน
แสดงว่า P2 เป็นตำแหน่งที่คลื่นเสริมกัน บนเส้นปฏิบัพที่ 1 (A1)
แสดงว่า P3 เป็นตำแหน่งที่คลื่นเสริมกัน บนเส้นปฏิบัพที่ 2 (A2)
สรุปได้ว่า ความต่างของระยะทางบนแนวปฏิบัพ
โดยที่ n เป็นตัวเลขแสดงลำดับที่ของแนวปฏิบัพ เริ่มที่ 0, 1, 2, 3, ...
จะมีค่าเท่ากับ 1 ลูกคลื่น หรือ
ถือว่าเป็นแหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกัน สร้างคลื่น 2 คลื่นซึ่งได้คลื่นที่มีหน้าคลื่น
เป็นรูปวงกลม คลื่นทั้งสองเคลื่อนที่จนซ้อนทับกัน โดยเส้นสีน้ำเงินแทนแนวสันคลื่น
ส่วนเส้นสีแดงแทนแนวท้องคลื่น
ดังนั้นจากรูป 5.3-10 S1 และ S2