โดย ครูปรีณาพรรณ  พิมพ์พิศาล
การแทรกสอด 12/23

สำหรับแหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกันข้าม

   หลักการและขั้นตอนส่วนใหญ่ที่ใช้พิจารณาการแทรกสอดยังคงเหมือนกับแหล่งกำเนิด
อาพันธ์ชนิดเฟสตรงกัน แต่จะมีเพียงสิ่งเดียวที่แตกต่างกัน คือ คลื่นที่สร้างจากแหล่งกำเนิด
S1 และ S2 มีเฟสตรงกันข้าม ทำให้จุดที่คลื่นจากแหล่งกำเนิดทั้งสองเคลื่อนที่ได้ความต่าง



   ในทำนองเดียวกัน เมื่อคลื่นจากแหล่งกำเนิดทั้งสองเคลื่อนที่ได้ความต่างระยะทางเท่ากับ
                        


แบบเสริม ซึ่งจะมองเห็นเป็นเส้นปฏิบัพของจุดสว่างและจุดมืด ในเบื้องต้นกล่าวได้ว่า เส้นปฏิบัพ
และเส้นบัพของแหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกัน กับแหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกันข้าม
จะสลับกัน เพื่อความชัดเจนให้พิจารณารูปที่ 5.3-12

ลวดลายการแทรกสอดจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกันข้าม

(ที่มา: พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ., 2557, หน้า 88)

    จากรูป 5.3-12 จุดบนเส้นตรงในแนวกลางซึ่งแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับเส้นตรงที่เชื่อมระหว่าง



และมองเห็นเป็นเส้นบัพ ซึ่งต่างจากกรณีของแหล่งกำเนิดอาพันธ์ชนิดเฟสตรงกัน ในกรณีนั้น
จุดเหล่านี้จะเกิดการแทรกสอดเสริมเป็นปฏิบัพ

แทรกสอดหักล้างเป็นเส้นบัพ โดยจะกำกับไว้ด้วยอักษร N และใช้ตัวห้อย 0 เพื่อแสดงว่าเป็น

แหล่งกำเนิดทั้งสอง จะมีความต่างระยะทางของคลื่นทั้งสองเท่ากับ


เส้นในแนวกลาง ตัวห้อย 0 สอดคล้องกับความต่างระยะทางเท่ากับ


จึงเป็นเส้นบัพ
เป็นจุดที่คลื่นมีเฟสตรงกันข้าม จึงเกิดการแทรกสอดหักล้าง


จุดเช่นนี้แทนที่จะเกิดการแทรกสอดแบบหักล้าง กลับเกิดเป็นการแทรกสอด

ระยะทางเท่ากับ
ดังนั้นจึงเกิดการ
แนวเส้นตรงกลางนี้

รูปที่ 5.3-12