โดย ครูปรีณาพรรณ  พิมพ์พิศาล
การแทรกสอด 15/23

    ในการศึกษาการแทรกสอดของแสงซึ่งเป็นคลื่นประเภทหนึ่ง แหล่งกำเนิด S1 และ S2
จะอยู่ใกล้กันมาก จากรูป 5.3-14 จะแทนระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดด้วย d ดังนั้นจุด P
ใด ๆ ที่ต้องการพิจารณาการแทรกสอดจึงมักอยู่ห่างจากแหล่งกำเนิดมากเมื่อเทียบกับระยะห่าง d

กรณีเช่นนี้จะทำให้ประมาณความต่างระยะทาง

การแทรกสอดของคลื่นจากแหล่งกำเนิดอาพันธ์ที่อยู่ห่างมาก ๆ

(ที่มา: ณัฐภัสสร และประดิษฐ์ เหล่าเนตร., 2555, หน้า 44)
    การประมาณค่าความต่างระยะทางจะเริ่มจากกำหนดมุม 
เส้นตรงจากจุด P มายังจุด O ซึ่งเป็นจุดกึ่งกลางบนเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างแหล่งกำเนิดทั้งสอง




ของส่วนของเส้นตรง S2R กล่าวได้ว่า

ซึ่งในที่นี้คือ S2P - S1P จึงเท่ากับความยาว

จะเป็นมุมระหว่างเส้นตรง OP กับเส้นแนวกลางที่แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับเส้นตรงที่



เชื่อมระหว่างแหล่งกำเนิด ให้สังเกตว่าสำหรับจุด P ทั่วไป เส้นตรง S1P และ S2P จะไม่ขนาน





จะสามารถประมาณให้เส้นตรง S1P และ S2P ขนานกับเส้นตรง OP ได้ เมื่อประมาณ




กับเส้นตรง OP ดังแสดงไว้แล้วในรูป 5.3-14 แต่เมื่อจุด P อยู่ห่างจากแหล่งกำเนิดมาก




ให้เส้นตรงทั้ง 3 เส้นนี้ขนานกันแล้ว ความต่างระยะทางจะหาได้จาก การลากเส้นตรงจาก S1




ไปตั้งฉากกับเส้นตรง S2P ที่จุด R จากนั้นจะเห็นได้ว่าส่วนของเส้นตรง RP ยาวเท่ากับเส้นตรง



(5.3-4)
ได้ดังนี้
ตามรูป 5.3-14 จากรูปเมื่อลาก
มุม
S1P ดังนั้นความต่างระยะทาง

รูปที่ 5.3-14