โดย ครูปรีณาพรรณ  พิมพ์พิศาล

    ในรูปที่ 5.2-15 จะพบว่า รังสีตกกระทบ 2 มีมุมตกกระทบมากกว่ารังสีตกกระทบ 1
ทำให้รังสีหักเห 2 เบนเข้าหาขอบตัวกลางมากกว่ารังสีหักเห 1

    ในกรณีที่มุมตกกระทบมีค่ามากจนกระทั่ง
มุมหักเหเท่ากับ 90 องศา ดังรังสีตกกระทบ 3
รังสีหักเหจะอยู่ในแนวเดียวกับขอบตัวกลาง
ให้เรียกมุมตกกระทบในกรณีนี้ว่า มุมวิกฤต



การสะท้อนกลับหมด

(ที่มา: พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ.,

    มุมวิกฤต


จาก

แทนค่าจะได้

เนื่องจาก

ดังนั้น

หรือ

(5.2-8)

และหากมุมตกกระทบมากกว่ามุมวิกฤต
ดังรังสีตกกระทบ 4 จะไม่มีรังสีหักเหเกิดขึ้น
โดยจะมีเฉพาะรังสีสะท้อนเท่านั้น
ปรากฏการณ์เช่นนี้เรียกว่า การสะท้อนกลับหมด
(total internal reflection)

ด้วย

    ดังนั้นการสะท้อนกลับหมด จึงหมายถึง การหักเหของคลื่นที่มุมตกกระทบโตกว่ามุมวิกฤต
ทำให้คลื่นเคลื่อนที่กลับในตัวกลางเดิมและเป็นไปตามกฎการสะท้อนที่เราได้เรียนผ่านมาแล้ว

    ซึ่งมุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดเกิดขึ้นได้เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีอัตราเร็ว
คลื่นน้อยไปยังตัวกลางที่มีอัตราเร็วคลื่นมาก เช่น การเคลื่อนที่จากน้ำตื้นไปน้ำลึก

การหักเห 11/17

(5.2-7)
(critical angle) และเขียนแทนด้วยมุม

หาได้จากสมการ (5.2-6) โดยแทน


และแทน

ด้วยมุม 90 องศา ดังนี้

2557, หน้า 67)

รูปที่ 5.2-15