โดย ครูปรีณาพรรณ  พิมพ์พิศาล

    ความสัมพันธ์ระหว่างมุมตกกระทบกับมุมหักเหสามารถหาได้จากการวิเคราะห์ทางเรขาคณิต
แต่ก่อนอื่นจะเริ่มจากการทำความเข้าใจด้วยมุมมองทางฟิสิกส์ก่อน ดังรูป 5.2-9 (ก)

รูปที่ 5.2-9 การหักเหของคลื่นจากมุมมองทางฟิสิกส์ (ที่มา: พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ., 2557, หน้า 64)

พื้นโคลนกับพื้นคอนกรีต โดยแถวทหารทำมุมตกกระทบ        



ได้เร็วกว่าบนพื้นโคลน ทหารที่เดินบนพื้นคอนกรีตจึงเดินนำหน้าทหารที่อยู่ในแถวเดียวกัน


เมื่อเปลี่ยนจากแถวทหารเป็นคลื่นดังรูป 5.2-9 (ข) คลื่นซึ่งเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีอัตราเร็วน้อย


    ในส่วนต่อไปนี้จะกล่าวถึงการหักเหของคลื่นที่มีการเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่ กำหนดให้คลื่นน้ำ
ที่มีหน้าคลื่นเป็นเส้นตรงเคลื่อนที่ในน้ำตื้น ตกกระทบขอบตัวกลางแบบเอียง ๆ ด้วยมุมตกกระทบ
        ที่ไม่เท่ากับมุม 0 องศา ดังรูปที่ 5.2-8 (ก) นักเรียนอย่าลืมว่า มุมตกกระทบ คือ


มุมระหว่างรังสีตกกระทบกับเส้นแนวฉาก หรือ มุมระหว่างหน้าคลื่นตกกระทบกับขอบตัวกลาง
ก็ได้ จากนั้นให้คลื่นเคลื่อนที่ผ่านขอบตัวกลางไปยังน้ำลึกดังรูป 5.2-8 (ข)

การหักเหของคลื่นน้ำที่มีหน้าคลื่นตกกระทบเอียงทำมุมกับขอบตัวกลาง

(ที่มา: พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ., 2557, หน้า 64)
การหักเห 5/17

    จากรูป 5.2-9 (ก) แสดงทหารที่เดินเรียงแถวหน้ากระดานจากพื้นโคลนเข้าหาขอบระหว่าง




แต่อยู่บนพื้นโคลน ทำให้แถวทหารบนพื้นคอนกรีตมีมุม


ไปยังตัวกลางที่มีอัตราเร็วมากกว่า


จะมีมุมหักเหมากกว่ามุมตกกระทบ


รูปที่ 5.2-8
เนื่องจากทหารเดินบนพื้นคอนกรีต
มากกว่ามุมตกกระทบ