โดย ครูปรีณาพรรณ พิมพ์พิศาล
พิจารณา P เป็นจุดบัพที่ 1 (N1)
ลองแบ่งช่องเปิดเดี่ยวออกเป็น 6 ช่องเท่า ๆ กันจะได้
จากการวิเคราะห์สมการ (5.4-1), (5.4-2), (5.4-3) จะเห็นได้ว่า ตัวเลขที่อยู่หน้า
ความยาวคลื่น
ดังนั้น ถ้าจุด P อยู่ไกลจากช่องเปิดเดี่ยวมาก ๆ และ P เป็นจุดบัพ แล้ว จะได้ว่า
ในส่วนของเส้นปฏิบัพจะยังไม่กล่าวถึงในระดับนี้เนื่องจากจำเป็นต้องใช้คณิตศาสตร์ที่ซับซ้อน
ในการอธิบาย โดยนักเรียนสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากตำราเรียนฟิสิกส์ระดับมหาวิทยาลัยได้
ในบางครั้งจะมีคำถามว่า คลื่นเลี้ยวเบนผ่านช่องเปิดหนึ่ง ๆ ได้ดีหรือไม่ การจะตอบคำถามนี้
ต้องอธิบายความหมายของคำว่า "เลี้ยวเบนดีหรือไม่ดี" ก่อน
การเลี้ยวเบนดี หมายถึง เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านช่องเปิดไปแล้ว คลื่นจะเลี้ยวเบนไปยังทุกบริเวณ
หลังช่องเปิดได้ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือไม่มีเส้นบัพเกิดขึ้นเพราะเส้นบัพเป็นตำแหน่งที่ไม่มีคลื่นลัพธ์
เงื่อนไขที่ใช้ระบุการเลี้ยวเบนว่าดีหรือไม่ดีจึงหาได้จากสมการ
เมื่อ n = 1, 2, 3, ... โดยกำหนดให้เส้นบัพ N1 อยู่ที่ขอบช่องเปิดพอดี ทำให้มุม
ผลการวิเคราะห์สมการ (5.4-5) ชี้ให้เห็นว่า เมื่อความกว้างของช่องเปิดเท่ากับความยาวคลื่น
เส้นบัพ N1 จะอยู่ที่ขอบช่องเปิดพอดี ดังนั้นหากต้องการให้ไม่มีเส้นบัพเลย ซึ่งหมายถึง
การเลี้ยวเบนได้ดีจะต้องลดความกว้างของช่องเปิดให้น้อยกว่าความยาวคลื่น
จะเป็นเลขจำนวนเต็ม 1, 2, 3, ...