โดย ครูปรีณาพรรณ  พิมพ์พิศาล

จำนวนวงของคลื่นนิ่งในเส้นเชือก (ที่มา: ณัฐภัสสร เหล่าเนตร และประดิษฐ์ เหล่าเนตร์.,

2555, หน้า 57)
   
    จากรูป 6-11 เมื่อปรับความถี่ของเครื่องสั่นจากศูนย์เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนเกิดปฏิบัพตรงกลาง

   

ดังรูป ก จะได้ความสัมพันธ์คือ

เมื่อปรับความถี่ให้สูงขึ้นจะเกิดคลื่นนิ่งดังรูป จะได้ความสัมพันธ์คือ

เมื่อปรับความถี่ให้สูงขึ้นอีกจะเกิดคลื่นนิ่งดังรูป จะได้ความสัมพันธ์คือ

เมื่อ n = 1, 2, 3, ...

    สรุปความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่น ของคลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่ยาว L ในกรณีทั่วไป
ได้ดังสมการ (6-1)

หรือ

หรือ

ดังนั้นถ้าเกิดคลื่นนิ่ง n วง หรือครั้งที่ n จะได้ความสัมพันธ์

    ในกรณีต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดคลื่นนิ่งนี้ ความถี่ของเครื่องสั่นจะต้องสอดคล้องกับความถี่ธรรมชาติ
ของคลื่นในเส้นเชือกจึงจะทำให้เกิดการสั่นพ้อง ซึ่งมีความถี่ดังสมการ (6-3)

จาก

แทน

จะได้

ดังนั้นจะได้ว่า

เมื่อ n = 1, 2, 3, ...
คลื่นนิ่ง 6/9

(6-1)

(6-2)

(6-3)

และกรณีนี้เกิดคลื่นนิ่งหนึ่งวง (1Loop)

รูปที่ 6-11