โดย ครูปรีณาพรรณ พิมพ์พิศาล
ผลจากการแทรกสอดตามหลักการซ้อนทับ คลื่นที่เกิดขึ้นบนเส้นเชือกไม่ปรากฏว่ามีการเคลื่อนที่
ดังรูป 6-3 โดยมีบางตำแหน่งบนเส้นเชือกที่มีการกระจัดสุทธิเป็นศูนย์เสมอ ตำแหน่งเหล่านี้เกิดจาก
การแทรกสอดหักล้าง ซึ่งจะระบุไว้ด้วยอักษร N และเรียกว่า บัพ ดังรูป 6-4
สำหรับเส้นเชือกส่วนที่อยู่ระหว่างบัพจะแกว่งขึ้นลงเท่านั้น โดยจุดกึ่งกลางระหว่างบัพจะเกิด
การแทรกสอดเสริม และมีแอมพลิจูดมากที่สุดเท่ากับ 2A เมื่อ A เป็นแอมพลิจูดของคลื่นตกกระทบ
และคลื่นสะท้อน ตำแหน่งที่เกิดการแทรกสอดเสริมนี้จะระบุไว้ด้วยอักษร A และเรียกว่า ปฏิบัพ
ดังรูป 6-4 จากภาพจะสังเกตได้ว่า ระยะห่างระหว่างบัพหรือปฏิบัพที่อยู่ติดกันเท่ากับ
ครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่น หรือ
และคลื่นนิ่งในภาพนี้มีทั้งหมด 6 วง หรือ 6 Loop
เหล่าเนตร์., 2555, หน้า 55-56)
ซึ่งระยะห่างนี้เท่ากับความยาวของคลื่นนิ่ง 1 วง (1Loop)
บัพและปฏิบัพบนคลื่นนิ่ง (ที่มา: ดัดแปลงจาก ณัฐภัสสร เหล่าเนตร์ และประดิษฐ์